วันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557

อาเซียนกับญี่ปุ่น

อาเซียน ญี่ปุ่น

 


ญี่ปุ่นเริ่มความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการกับอาเซียนในปี 2516 และพัฒนาความสัมพันธ์เป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียนในปี 2520 และในปี 2546 มีการประชุมสุดยอดอาเซียน-ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ(ASEAN-Japan Commemorative Summit) ที่กรุงโตเกียวในโอกาสครบรอบ 30 ปีความสัมพันธ์อาเซียน - ญี่ปุ่น โดยได้มีการลงนามปฏิญญาโตเกียวว่าด้วยการเป็นหุ้นส่วนอาเซียน-ญี่ปุ่น เพื่อกำหนดทิศทางความร่วมมือระหว่างสองฝ่าย ญี่ปุ่นให้การสนับสนุนการรวมตัวของอาเซียนโดยจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการรวมตัวกันของอาเซียน และยังเป็นผู้สนับสนุนรายใหญ่ที่สุดของกรอบข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัว ของอาเซียน

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99

อาเซียน - สหรัฐอเมริกา

    อาเซียน - สหรัฐอเมริกา
 
ความสัมพันธ์อาเซียน-สหรัฐ ฯ เริ่มต้นอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2520 โดยในช่วงแรกเป็นความร่วมมือ
ด้านการพัฒนา ต่อมาขยายถึงความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ปัจจุบันสหรัฐฯ เน้นการหารือด้านการเมือง และความมั่นคงกับอาเซียน ในขณะที่อาเซียน ยังต้องการความช่วยเหลือ เพื่อการพัฒนาและปรารถนา ที่จะหารือด้านเศรษฐกิจ และการค้ากับสหรัฐ ฯ ในลักษณะกลุ่มประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองฝ่าย บรรลุถึงจุดสูงสุดเมื่อมีการประกาศแถลงการณ์ วิสัยทัศน์ร่วมว่าด้วยความ
เป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูน (Joint Vision Statement on ASEAN-US Enhanced Partnership) ในวันที่ 17 พ.ย. 2548 และในปี 2549 ได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการอาเซียน-สหรัฐ ฯ เพื่อดำเนินตามแถลงการณ์ วิสัยทัศน์ร่วม ฯ ในช่วงที่ไทย เป็นประเทศผู้ประสานงาน ความสัมพันธ์อาเซียน-สหรัฐ ฯ (ก.ค. 2546-ก.ค. 2549) ปัจจุบันสิงคโปร์ เป็นประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์จนถึงกลางปี 2552
http://www.blwsc.ac.th/asean/content/04-AssociateWithAsean10.aspx








ความสัมพันธ์อาเซียนอาเซียน-รัสเซีย ( ASEAN –Russia)

ความสัมพันธ์อาเซียนอาเซียน-รัสเซีย ( ASEAN –Russia)
๒.๑ ASEAN-Russia Summit (ระดับผูนํา) จัดขึ้นครั้งแรก เมื่อป ๒๕๔๘ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร และครั้งที่ 
๒ ในชวงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๗ เมื่อวนทั ี่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ กรงฮานอย ุ ประเทศเวียดนาม 
๒.๒ ASEAN Post Ministerial Conference (PMC) + ๑(ระดับรัฐมนตรี) ประชุมปละครั้ง 
 ๒.๓ ASEAN-Russia Senior Officials’ Meeting (SOM) (ระดับปลัด) ประชุมทุก ๑๘ เดือน 
 ๒.๔ ASEAN-Russia Joint Cooperation Committee (ระดับผูแทนถาวรของประเทศสมาชิกอาเซยนี
ประจําอาเซยนี ณ กรุงจาการตา เขารวมประช  ุม) ประชมปุ ละครั้ง 

http://www.pyp.ac.th/asean/relationship/russia.php

ความสัมพันธ์ล่าสุด อาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN - Republic of Korea )


ความสัมพันธ์ล่าสุดอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี (ASEAN - Republic of Korea )
ในการประชมสุ ุดยอดอาเซียน-กลต. ครงทั้ 15 ี่ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 ที่กรุงพนมเปญ 
ที่ประชุมเห็นชอบ (1) ใหอาเซียน และ กลต. ขยายความรวมมือทางเศรษฐกิจการคาระหว  างกัน (2) อาเซียน
ขอให กลต. สนับสนนการสร ุ างประชาคมอาเซียน และความเชื่อมโยงในภูมิภาค โดยการจัดตงกลไกประสานงาน ั้
กับฝายอาเซียน (3) สงเสรมให ิ  กลต. ขยายบทบาทในการลดชองวางดานการพัฒนาในภูมิภาค เชน ในกรอบ 
Initiative of ASEAN Integration (IAI) และความรวมมือแมโขง–กลต. (4) ขยายความรวมมือดานสิ่งแวดลอม

http://www.pyp.ac.th/asean/relationship/korea.php

ASEAN - India Relations : ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับอินเดีย

ASEAN - India Relations : ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับอินเดีย




อาเซียนและอินเดียได้จัดตั้งกองทุน ASEAN – India เพื่อใช้สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมความร่วมมือระหว่างกัน นอกจากนั้นอินเดียได้เข้าร่วมเป็นภาคีความตกลง หรือภาคยานุวัติ (TAC) ในปี 2546  อินเดียเป็นหนึ่งในสมาชิกของ  (EAS) ตั้งแต่ปี 2548  ในด้านการร่วมมือด้านความมั่นคง การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ อินเดียได้รับรองแถลงการณ์ร่วมมือกับอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการร้ายสากลตั้งแต่ปี 2546 ร่วมทั้งได้เข้าร่วมในการประชุมทางด้านความมั่นคงชื่อ ARF เมื่อปี 2539 โดยมีบทบาทสำคัญในเรื่องความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล

http://aseancorner.blogspot.com/2012/10/asean-india-relations.html

ASEAN - European Union Relations : ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป

                                        

ASEAN - European Union Relations : ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป

 
การประชุมคณะกรรมการร่วมด้านความร่วมมือระหว่างอาเซียน-อียู ครั้งที่ 21 มีขึ้นเมื่อ 24 ม.ค. ที่ผ่านมาที่กรุงจาการ์ตาโดยอาเซียนและอียูได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ความร่วมมือในด้านต่างๆ อย่างเช่น การค้า การลงทุน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบินพลเรือน ความปลอดภัยทางทะเล สิทธิมนุษยชน และโครงการความร่วมมือต่างๆ เป็นต้นประธานร่วมในการประชุมครั้งนี้ได้แก่ ฯพณฯ นายวู ดัง ซุง เอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจำอาเซียน และผู้ประสานงานประเทศของ  และนายราเนียรี ซาบาตุชชี หัวหน้ากองเอเชียตะวันออกฉียงใต้ของหน่วยงานด้านการต่างประเทศของสหภาพยุโรป
http://aseancorner.blogspot.com/2012/10/asean-eu-relations.html

ความคืบหน้าล่าสุดเขตการค้าเสรีอาเซียน - จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement)



ความคืบหน้าล่าสุดเขตการค้าเสรีอาเซียน - จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement)
ความคืบหน้าล่าสุด

การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-จีน (AEM-MOFCOM) ระหว่างวันที่ ๑๘-๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไน สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
ทั้งสองฝ่ายยินดีที่จะยกระดับความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ACFTA) ตามที่ฝ่ายจีนได้ริเริ่มและเสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ เนื่องจากฝ่ายจีนเห็นว่าความตกลงฉบับนี้ได้จัดทำมานานแล้ว หลายประเด็นควรมีการปรับปรุงให้ทันสมัย จึงควรจะมีการยกระดับทั้งในเรื่องระดับการเปิดเสรี การอำนวยความสะดวกทางการค้า และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนต่างให้ความเห็นชอบกับข้อเสนอการยกระดับความตกลงดังกล่าว

 http://www.thaifta.com/thaifta/Home/FTAbyCountry/tabid/53/ctl/detail/id/4/mid/480/usemastercontainer/true/Default.aspx

ฟิลิปปินส์


ฟิลิปปินส์ 

               

  


ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)
ประชากร : 88.7 ล้านคน (พ.ศ.2550)
สกุลเงิน : เปโซ (Peso : PHP) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื้อ) 0.72 บาท/ 1 เปโซ (ขาย) 0.75 บาท/ 1
เปโซ (มกราคม 2552)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร (วาระ 6 ปี)
  • ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นางกลอเรีย มาคาปากัล อาร์โรโย (Gloria Macapagal Arroyo) ซึ่งได้รับการรับรองให้เป็นผู้ชนะการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2547
  • http://www.baanjomyut.com/library_2/asean_community/philippines/

เวียดนาม (Vietnam)

เวียดนาม (Vietnam)



ธงชาติ          ตราแผ่นดิน
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
ทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออก
พื้นที่ : 331,689 ตารางกิโลเมตร (0.645 เท่าของประเทศไทย)
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi)
ภาษา : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) เป็นภาษาราชการ ซึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2463 วงการวิชาการเวียดนามได้ลงประชามติที่จะใช้ตัวอักษรโรมัน (quoc ngu) แทนตัวอักษรจีน (Chu Nom) ในการเขียนภาษาเวียดนาม
สกุลเงิน : ด่อง (Dong : VND) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 461 ด่อง/ 1 บาท (มกราคม 2550)
ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว)
  • http://www.baanjomyut.com/library_2/asean_community/vietnam/

เมียนมาร์

เมียนมาร์ - ข้อมูลทั่วไป  


 
ชื่อทางการ: สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
  (Republic of the Union of the Myanmar)
เมืองหลวง: เนปิดอว์ (Nya Pyi Daw) เมืองหลวงเดิมคือ ย่างกุ้ง
ศาสนาประจำชาติ: พุทธ
วันชาติ: 4 มกราคม
ภาษาประจำชาติ: ภาษาเมียนมาร์
ภาษาราชการ: ภาษาเมียนมาร์
เวลา: + 6.30 GMT (เร็วกว่าประเทศไทย 30 นาที)
วันที่เป็นสมาชิกอาเซียน: 23 กรกฏาคม พ.ศ. 2540

https://sites.google.com/site/mnmasean/phma

ด้านเศรษฐกิจประเทศอินโดนีเซีย


ด้านเศรษฐกิจประเทศอินโดนีเซีย

ด้านเศรษฐกิจ พื้นที่ส่วนใหญ่ของอินโดนีเซียเป็นป่าดงดิบ เป็นประเทศที่มีป่าไม้มากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลผลิตจากป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ด้านเกษตรกรรมมีการปลูกพืชแบบขั้นบันได มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ยาสูบ ข้าวโพด เครื่องเทศ ประมง และมีแร่ธาตุที่สำคัญได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียม ซึ่งทำรายได้ให้แก่ประเทศมากที่สุด อุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ เป็นต้น[1] สกุลเงินของประเทศอินโดนีเซีย คือ รูเปียห์

http://www.asean-info.com/asean_members/myanmar.html

มาเลเซีย

อาเซียน มาเลเซีย (Malaysia)


                                     


พื้นที่ - 128,430 ตารางไมล์ (329,758 ตารางกิโลเมตร)
เมืองหลวง - กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
เมืองราชการ - เมืองปุตราจายา (Putrajaya)
ภาษา มาเลย์ (Bahasa Malaysia เป็นภาษาราชการ) อังกฤษ จีน ทมิฬ
หน่วยเงินตรา ริงกิตมาเลเซีย (ประมาณ 3.20 ริงกิต /1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 10.42 บาท/1 ริงกิต)
ระบอบการเมือง ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy)


http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1355968940&grpid=&catid=02&subcatid=0200